วันอังคารที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2559

โหนบาร์สร้างรายได้อย่างมหาศาล




ด้วยเหตุนี้ สมาคมหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทยในเวลานั้น นายสมัย เรืองไกร บรรณาธิการ'หนังลือพิมพ์ไทราย1วัน (ในเครือสารเสรี) เป็นนายกสมาคม จึงหยิบเอามาเรียกประชุมใหญ่วิสามัญ โดยตั้งประเด็น“คุกคามเสรีภาพของหนังสือพิมพ์”  ในวันประชุมใหญ่มีสมาชิกซึ่งล้วนทำงานหนังสือพิมพ์จำนวนมากมาร่วมประชุมกัน“ทำชุ่ยๆ ตามอารมณ์แบบนี้ ถ้าหากเขียนอย่างนี้เป็นกบฏก็ไม,ต้องทำหนังสือพิมพ์กัน” นายประหยัด ศ.นาคะนาท บ.ก.สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์ ซึ่งเป็นผู้ต้องหาด้วยพูดอย่างเหลืออด“ท่านสหายนักหนังสือพิมพ์ทั้งหลาย ข้าพเจ้าอยู่ห่างไกลแล้วเรื่องราวต่างๆ ที่เกิดขึ้นอยู่ในขณะนี้ที่ท่านทั้งหลายอภิปรายกัน ข้าพเจ้าได้ทราบเพียงเท่าที่ปรากฏในหนังสือพิมพ์เท่านั้น และโดยที่ข้าพเจ้าทราบว่า การประชุมนี้เป็นการประชุมของเพื่อนหนังสือพิมพ์ทั้งหลายเพื่อที่จะพิทักษ์สิทธิของหนังสือพิมพ์ และโดยที่ข้าพเจ้าและเพื่อนอีกหลายท่านได้เคยร่วมในการพิทักษ์สิทธินี้มาแล้ว ข้าพเจ้าจึงรู้สึกว่าเป็นการจำเป็นที่จะมาร่วมอยู่ในชุมนุมของท่านทั้งหลายในวันนี้”และเมื่อที่ประชุมมีมติแต่งตั้งคณะกรรมการชุดหนึ่งเปิดการเจรจากับรัฐบาล  บาร์โหนราคาถูก “ผมอยากให้คณะกรรมการในซุดนี้ได้ประท้วงในวงกว้าง อย่าประท้วงในวงแคบ ขอให้ประท้วงว่า ขออย่าคุกคามสิทธิเสรีภาพ อีกประการหนึ่ง ขอให้เลิกบทบัญญัติที่ฃัดต่อระบอบประชาธิปไตย เมื่อมติของที่ประชุมใหญ่นี้อยากให้เลิกตัวบทกฎหมายที่ขัดต่อประชาธิปไตยอยากจะขอร้องให้ท่าน ส.ส. ที่มีหน้าที่โดยเฉพาะขอให้ร่วมมือกับเราในมติของที่ประชุมใหญ่ด้วย”นั่นคือคำอภิปรายของนายสนิท เอกชัย หัวหน้ากองบรรณาธิการ

“เดลิเมล์” ในขณะนั้นมติที่ประชุมวันนั้นคือจะยื่นประท้วงรัฐบาลกรณีคุกคามสิทธิเสรีภาพของหนังสือพิมพ์และขอให้ยกเลิก พ.ร.บ.การพิมพ์ รวมทั้งบทบัญญัติบางมาตราในกฎหมายอาญาด้วย โดยมีคณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งเข้าไปดูแลและดำเนินการอีกสองวันต่อมา นายสมัย เรืองไกร ได้เชิญบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ทุกฉบับ (ไทย-จีน-อังกฤษ) มาร่วมประชุมหารือที่โรงแรมสุริยานนท์(อยู่ตรงหัวมุมอาคารถนนราชดำเนินตรงกันข้ามธนาคารกรุงเทพ สาขา ผ่านฟ้า) ซึ่งปัจจุบันเลิกไปแล้วเมื่อเริ่มประชุมได้มืการยืนไว้อาลัยต่อคำลังอันมืที่มาจาก พล.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์ และที่ประชุมวันนั้นมีมติประท้วงด้วยการทำคำประท้วงตีพิมพ์ในหน้าหนึ่งของหนังสือพิมพ์ทุกฉบับ ด้วยข้อความที่เห็นพ้องต้องกันด้งนี้บรรทัดแรก  โหนบาร์เพิ่มกล้าม “เราล้เพื่อเสรีภาพของหนังสือพิมพ์” บรรทัดที่สอง“เพราะเสรีภาพของหนังสือพิมพ์” บรรทัดที่สาม “คือเสรีภาพของประ-ชาชน” ข้อความสามบรรทัดนี้สมาคมจัดทำเป็นพื้นดำตัวหนังสือขาวเป็นบล็อคขนาดเดียวกันหมด แล้วแจกจ่ายไปทุกหนังสือพิมพ์ ซึ่งต่างก็พร้อมใจกันตีพิมพ์ข้อความประท้วงโดยทั่วหน้ากันจะเห็นว่า บรรยากาศการเมืองระหว่างหนังสือพิมพ์กับรัฐบาลอยู่ข้างจะอึมครีม ยิ่งนายกสมาคมหนังสือพิมพ์ฯ คือบรรณาธิการไท-รายวันซึ่งเป็นกิจการภายใต้ซื่อ “บริษัท ธนะการพิมพ์ จำกัด” ก็เป็นที่รู้กันว่าใครคือนายทุนของบริษัทนี้ ว่ากันว่าทำเอา จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงขั้นมีนตึ้บ...การประท้วงของบรรดาหนังสือพิมพ์ตามวิธีการนั้น รวมทั้งคณะกรรมการของสมาคม ผู้รับหน้าที่เจรจาความกัน ประการแรกแม้จะดำเนินการอย่างพร้อมเพรียงแล้ว แต่รัฐบาลก็ทำเหมือน

“ทอง1ไฝรู้ร้อน” ยิ่งการเจรจาด้วยแล้ว แทบจะเรียกได้ว่าไม่เปิดประตูรับก็ว่าได้ดูจะเหมือนมีเพียงครั้งเดียวที่มีการประชุมร่วม เสร็จแล้วก็แล้วกันไป ส่วนการเลือกตั้งที่ถูกประณามว่า “สกปรกที่สุด” นั้น พรรคประชา-ธิปัตยืได้ยื่นฟ้องว่ามืการทุจริตในการเลือกตั้งซึ่งดำเนินการโดยกระทรวงมหาดไทยยุคนั้น1ไม่มี “คณะกรรมการการเสือกตั้ง (กกต.)” อย่างปัจจุบันมหาดไทยจึงตกเป็นจำเลยเต็มๆนายควง อภัย'วงค่โ หัวหน้าพรรคเข้าเบิกความเป็นพยานโจทก์ปากแรก ให้การว่า พรรคเสรีมนังคศิลาระดมคนมาจากค่ายมวยศรแดงกับนักเลงจำนวนหนึ่งไปลงคะแนนโดยใช้ ขายบาร์โหนประกอบง่าย “บัตรตราไก่” (จอมพล ป. เกิดปีระกา-ไก่) บัตรประจำตัวคนลงคะแนนอีกส่วนหนึ่งมีลายเซ็นของ พล.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์ กำกับพยานหลักฐานที่ถือว่าเป็น “ไพ,ไฟ” ซึ่งแสดงต่อศาลนี้ ม.ร.ว.นํ้าเพซร์ เกษมสันต์ ซื้อจากผู้ดำเนินการด้วยราคาบัตรละหนึ่งพันบาทบ้าง, สองพันบาทบ้าง (เงินหนึ่งพันบาทยุคนั้นถือว่ามีค่ามาก)นายควงยังเบิกความถึงการนับคะแนนที่หน่วยเลือกตั้งดุสิตว่า มีความล่าช้าเพราะมีการเปลี่ยนหีบบัตรแล้วต้องแก้ตัวเลขในแบบฟอร์มกำกับหีบบัตรชนิดที่สามารถทำให้คะแนน จอมพล ป. ซื้นพรวดเดียวถึง๒๐๐ เปอร์เซ็นต์ สมาชิกพรรคประชาธิปัตย์อีกหลายคนที่มาเบิกความเป็นพยานเฉพาะหน่วยเลือกตั้งวัดลาดบัวขาว พ.ต.หลวงสรสิทธิยานุการเบิกความว่ามีรถตำรวจแล่นมาจอดแล้วทิ้งถุงใส่บัตรที่กาไว้แล้วมาส่งให้กับกรรมการประจำหน่วย บอกว่าให้เอาบัตรในถุงเทลงในหีบบัตร กรรมการคนหนึ่งถามว่า “ทำไมต้องเอา (บัตร) ใส่หีบบัตร”  บาร์โหนติดประตูราคา คำตอบก็คือ “ถ้าไม่เอาใส่ก็เน่า” บัตรเน่าหรือคนเน่า?ผมนำเอาการเบิกความที่พยานนำหลักฐานบางอย่างมาแสดงและพฤติการณ์ส่อความดุตันอันสามารถบอกได้ว่า ผู้ปฏิบัติย่อมอาศัยอำนาจแฝงที่อยู่เบื้องหลังบงการให้ปฏิบัติด้วยวิธีการสารพัดมาให้ท่านผู้อ่านได้เห็นว่าตราบใดที่การเลือกตั้งอันเป็นรูปแบบของประชาธิปไตยดำเนินการโดยอิทธิพลหรืออำนาจจากผู้เป็นรัฐบาลที่ขาดจริยธรรมหรือการใช้อำนาจเงินกระทำการให้เกิดผลดีแก่ตนแล้วการเลือกตั้งนั้นๆ หนีไม่พ้นที่จะฤกตราว่า “สกปรก” ขาดเสียซึ่งความสำนึกที่ควรจะเป็นไปตามระบอบรัฐธรรม

บาร์โหน