วันอาทิตย์ที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2559

7 วิธีการโหนบาร์ที่ถูกต้อง พร้อมการสร้างกล้ามเนื้อที่ถูกหลัก 1






 ต้นกำเนิดของเงินออกจะเป็นเรื่องน่าพิศวง ระบบแลกเปลี่ยนแต่เดิมได้ถูกเปลี่ยนแปลงไปในยุคใดกัน? แล้วความโลภโมโทสันของมนุษย์ได้ถูกตีค่าเป็นเศษชิ้นของโลหะได้อย่างไรกัน คำตอบที่นอร์แมน โอ บราวน์!ห้ไว้นับว่าน่าสนใจไม่น้อย เพราะช่วยให้เราได้เห็นถึงบทบาทของเงินในยุคปัจจุบันได้เป็นอย่างดี โดยทั่วไปเงินในยุคก่อนและในปัจจุบันยังคงความสักดื้ลิทธอยู่"เราได้รับรู้กันมานมนานแล้วว่า ตลาดการค้าแห่งแรกเป็นสถานที่อันสักดิ้ลิทธี้ดังธนาคารแห่งแรกก็คือวัด และผู้ที่ออกเหรียญกษาปณ์เป็นคนแรกๆ ก็คือพระหรือกษัตริย์ที่เป็นพระ'’3 เหรียญกษาปณ์เหรียญแรกถูกผลิตและรับรองค่าโดยวัด โดยมีการพิมพ์พระฉายาขององค์พระผู้เป็นเจ้าลงบนเหรียญด้วยเพื่อลิอถึงอำนาจในการปกปักคุ้มครอง เมื่อเงินกอปรด้วยความสักดื้ลิทธี้ดังกล่าวมันจึงกลายเป็นสิงเย้ายวนใจไปโดยปรียาย แต่ทั้งนี้ไม่ใช่เพราะคุณสามารถใช้เงินซื้อหาลิงของต่างๆ ได้ ในทางกลับกันเพราะตัวของมันเองเป็นที่ยอมรับของคนจำนวนมาก เราจึงสามารถใช้เงินเพื่อแลกเปลี่ยนกับลิงของต่าง ๆ  บาร์โหนเพิ่มความสูง ได้ผลที่ตามมาคือ “อำนาจสักดิ้ลิทธ!นสากลจักรวาลกลายเป็นสมบัติของมนุษย์ทุกคนได้ โดยที่ไม่จำเป็นต้องไปวัด และคุณสามารถเดินทางไปสู่ความเป็นอมตะแห่งชีวิตได้ด้วยการไปตลาดเท่านั้น,, นี่เป็นเหตุให้เกิดบุคคลอย่างใหม่ขึ้น “ผู้ซึ่งวางคุณค่าและความเป็นอมตะแห่งชีวิตไว้บนฐานของจักรวาลวิทยาที่ผูกติดแน่นกับเหรียญเงิน” ระบบคุณค่าใหม่จึงเกิดขึ้นมาและได้รับการล่งเสรีมให้เข้มแข็งมากขึ้น โดยระบบเศรษฐกิจอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน“เงินกลายเป็นสาระแห่งการดำรงอยู่ทั้งปวง...เป็นสัญลักษณ์แห่งความเป็นอมตะ เป็นวิธีการสำเร็จรูปที่จะช่วยเพิ่มค่าของมนุษย์คนหนึ่งด้วยการโยงเขาเข้ากับวัตถุและเหตุการณ์ที่สำคัญๆในโลกของเขาเอง”4 นอกไปจากประโยชน์ในการเป็นลี่อกลางสำหรับแลกเปลี่ยนแล้ว เงินได้กลายเป็นวิธีการล่าสุดของมนุษย์ที่จะสะสมตัวตนให้เพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้เพื่อต่อสู้กับสำนึกภายในอันน่ารำคาญที่คอยเตือนว่า  บาร์โหนเหล็ก ตัวตนของเรานั้นไม่มีอยู่จริง

ในอดีตเพราะความลังเลสงลัยว่าตัวตนนั้นเป็นเพียงมายาการ เราจึงต้องไปวัดเพื่อจะพิสูจน์ว่าตัวตนมี  พุทรริบ้ทิอยู่จริง ด้วยการอธิษฐานเพี่อเข้าเป็นส่วนหนึ่งของพระเจ้า แต่ทุกวันนี้เราพิสูจน์ว่าตัวตนมีอ ยู่จริงโดย ผ่านเงินตราป้ญหาก็คือในท้ายที่สุดเราต้องจ่ายให้กับความพยายามนด้วยราคาแพงคุณค่าที่เราให้กับเงินส่งผลกรรมกลับมาทำร้ายตัวเราเอง ยิ่งเราให้คุณค่ากับมันมากเท่าไร ก็เท่ากับเราใช้มันเพื่อประเมินคุณค่าของตัวเองมากขึ้นเท่านั้นในหนังสือ ชั่วโมงแห่งความตายของเรา (เท The Hour of Our Death)ซึ่งเป็นผลงานการคืกษาเรื่องความตายอันยิ่งใหญ่ในวัฒนธรรมตะวันตก ฟิลิปอารีส์ ได้ทำให้นักวิจารณ์ทั่วไปต้องหงายเกังไป ทุกวันนี้เราพากันพรํ่าบ่นถึงอิทธิพลของวัตถุนิยม แต่เขากลับบอกว่าอันที่จริงมนุษย์ทุกวันนี้ไม,ได้เป็นผู้นิยมวัตถุเลย เนื่องจาก  “วัตถุสิ่งของต่างๆ ได้กลายเป็นเพียงปัจจัยในการผลิต หรือสิ่งที่ใช้เพี่อการเสพย์หรือบริโภค ในชีวิตประจำวันของคนทั่วไปพวกเขาไม่มีความเชื่อในเรื่องวัตถุอิกต่อไป หากพวกเขาเชื่อในพระเจ้า ในขณะที่คนในยุคกลางยังมีความเชื่อทั้งในเรื่องวัตถุและพระเจ้า เชื่อในเรื่องชีวิตและความตาย เชื่อในความหลงใหลได้ปลื้มกับวัตถุและการสลัดหลุดพ้นอยู่บ้าง’'5ปัญหาของพวกเราในทุกวันนี้คือ  วิธีโหนบาร์ เราไม่เชื่อเรื่องวัตถุอีกต่อไป หากเราเชื่อถือเพียงสัญลักษณ์ ชีวิตของเราจึงถูกครอบงำด้วยสัญลักษณ์ต่าง ๆ เหล่านี้และตกอยู่ใต้อิทธิพลของมัน เราถูกบงการด้วยสัญลักษณ์ต่างๆ ที่เราพากันยึดถืออย่างจริงจัง เราไม่ได้ตกอยู่ใต้อิทธิพลของวัตถุที่ถูกชื้อหามาได้ด้วยเงินสักเท่าไร หากเป็นอำนาจและสถานะที่ตามมากับวัตถุสิ่งของชิ้นนั้นมากกว่าเราไม่ได้ถูกครอบงำด้วยรถยนต์ แต่การครอบครองรถยนต์เล็กซัสมีอำนาจกำหนดความเป็นตัวเรา (โตโยต้า เล็กชัสถือว่าเป็นรถยนต์หรูหราราคาแพงสำหรับชาวญี่ป่น - ผู้แปล) มนุษย์ในยุคปัจจุบันจึงไม่สามารถยอมรับระบบเศรษฐกิจแบบที่สร้างความเท่าเทียมกันให้เกิดขึ้นได้ ทั้งนี้ตามที่เอินเนสต์เบคเกอร์กล่าวไว้ว่า "เพราะพวกเขาไม่มีความเชื่อมั่นในการหลุดพ้นด้วยตนเองหรือกระทั่งสัญลักษณ์แห่งความเป็นอมตะแห่งชีวิตในโลกอื่น สิ่งที่พวกเขาเห็นว่าจะนำมาซึ่งความเป็นอมตะแห่งชีวิตของเขาได้มีเพียงทรัพย์สินอันมองเห็นfliauinuiuunsiเดวิด ลอยและ จับต้องได้” หรือตัวตนที่แท้จริงของเขา ความกระหายทางจิตวิญญาณหรืออย่างน้อยความปรารถนาที่จะเป็นส่วนหนึ่งในสากลจักรวาล ได้ถูกลดทอนค่าลงเหลือเพียงความปรารถนาที่จะครอบครองรถยนต์คันใหญ่กว่าเพื่อนบ้านเราไม่สามารถขจัดความคักดิ้ลึทธิ้ให้หมดไปได้ เพราะลึกๆ แล้วมนุษย์เราไม่สามารถขจัดความประหวั่นกลัวให้หมดไปได้ นอกจากจะเก็บกดมันเอาไว้ซึ่งในที่สุดก็จะยิ่งยากในการควบคุมและถูกกดดันด้วยสิ่งที่พยายามเก็บกดไว้นั่นเอง”6เรามีแนวโน้มที่จะพิจารณามูลเหตุจูงใจในการทำกำไร ว่าเป็นเรื่องมีเหตุผลและเป็นธรรมชาติ

(ดังที่อด้ม สมิธเรียกว่าเป็น “มือที่มองไม่เห็น”อันเมตตานั่นเอง) แต่นั่นไม่ใช่ความเชื่อที่มีมาแต่ดั้งเดิมในสังคมบรรพกาลเลยอันที่จริง ในอดีตแรงจูงใจเช่นนั้นมักจะถูกมองว่าเป็นสิ่งที่น่ากลัวด้วยซํ้าไปสำหรับพวกเรา เงินตรากลายเป็นตัวกำหนดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ แต่ในลังคมบรรพกาล มนุษย์ไม่ได้มีการแบ่งแยกอย่างชัดเจนระหว่างกิจกรรมทางเศรษฐกิจกับเรื่องอื่นๆ ดังที่โพลันยีบันทึกไว้ว่า“เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่า ระบบเศรษฐกิจของมนุษย์จะซ่อนอยู่ภายใต้ความสัมพันธ์ทางสังคม มนุษย์ไม,ได้กระทำการใดเพื่อมุ่งปกป้องผลประโยชน์ที่ตนเองจะได้จากการครอบครองวัตถุ พวกเขาทำไปเพื่อปกป้องสถา!4ภาพทางสังคม เพื่อรักษาสิทธิในการเรียกร้องจากสังคม และทรัพย์สินของสังคมมนุษย์จะให้คุณค่าแก่วัตถุตราบเท่าที่สนองเป้าหมายนี้เท่านั้น...ระบบเศรษฐกิจจะต้องดำเนินไปบนพื้นฐานของแรงจูงใจที่ไม่มุ่งการค้ากำไร”7มนุษย์ในยุคเดิมไม่เห็นถึงความจำเป็นที่จะต้องหาทางชดเชยความรู้ลึกขาดด้วยเงินตรา ด้วยพวกเขามีวิธีอื่นๆ อยู่แล้ว ทอว์นิย์น่าหลักการนี้กลับคืนมาสู่เรา ด้วยการค้นพบความจริงในลักษณะเดียวกันในประวัติศาสตร์ของตะวันตก“ไม่มีทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ใดเลยในยุคกลาง ที่ไม่สัมพันธ์กับการแสวงหาผลลัพธ์ที่ชอบธรรม ทั้งไม่มีการสถาปนาวิทยาศาสตร์ทางสังคมใด ๆที่ตั้งอยู่บนสมมติฐานที่ว่า ความกระหายต่อผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจเป็น บาร์โหนติดผนัง  เแทรวินัทิพลังอันสมํ่าเสมอ สามารถวัดได้ และยอมรับได้ดังเซ่นพลังตามธรรมชาติชนิดอื่นๆ หรือเป็นข้อมูลที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้และชัดเจนในตัวชองมันเองสำหรับนักคิดในยุคกลางแล้ว สิงเหล่านี้จะต้องเป็นเรื่องที่แทบจะปราศจากตรรกและคิลธรรมใดมารองรับ เซ่นเดียวกับการที่อ้างเอาหลักปรัชญาทางลังคมมาส่งเสรมให้มนุษย์กระทำการใดๆ อันปราศจากการยับยั้ง โดยตั้งอยู่บนลักษณะพื้นฐานของมนุษย์ที่ว่าด้วยความกระหายในการต่อสู้และลัญชาติญาณทางเพศ”

บาร์โหนสำเร็จรูป

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น